SARABURI TECHNICAL COLLEGE

วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี สถาบันการอาชีวศึกษาภาคกลาง 1
สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษากระทรวงศึกษาธิการ
หน้าแรก / ข้อมูลหลักสูตรการสอน

หลักสูตรการเรียนการสอน

การจัดการศึกษาในปัจจุบัน วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี จัดการศึกษาตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตร ประเภทวิชาอุตสาหกรรม ประเภทวิชาพาณิชยกรรม ประเภทวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ และประเภทวิชาอุตสาหกรรมดิจิทัลและเทคโนโลยีสารสนเทศ ระดับต่าง ๆ โดยใช้หลักสูตรระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) พุทธศักราช 2562 หลักสูตรระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) พุทธศักราช 2562 ปรับปรุง พ.ศ. 2565 หลักสูตรระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) พุทธศักราช 2567 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) พุทธศักราช 2563 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) พุทธศักราช 2563 ปรับปรุง พ.ศ. 2565 และหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) พุทธศักราช 2567 ดังนี้

ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)

ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) พุทธศักราช 2562 หลักสูตร 3 ปี รับผู้จบมัธยมศึกษาปีที่ 3 หรือเทียบเท่าเข้าเรียนในระบบปกติ และระบบทวิภาคี ประเภทวิชาอุตสาหกรรม ประเภทวิชาพาณิชยกรรม และประเภทวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร จำนวน 10 สาขาวิชา 10 สาขางาน โดยหลักสูตรนี้ใช้ในนักเรียนระดับ ปวช. ชั้นปีที่ 2 (เข้าศึกษาปี พ.ศ. 2566-2568) และระดับ ปวช. ชั้นปีที่ 3 (เข้าศึกษาปี พ.ศ. 2565-2567) ดังนี้

ประเภทวิชาช่างอุตสาหกรรม

  • สาขาวิชาช่างยนต์ - สาขางานยานยนต์
  • สาขาวิชาช่างกลโรงงาน - สาขางานเครื่องมือกล
  • สาขาวิชาช่างเชื่อมโลหะ - สาขางานโครงสร้าง
  • สาขาวิชาช่างไฟฟ้ากำลัง - สาขางานไฟฟ้ากำลัง
  • สาขาวิชาช่างเทคนิคคอมพิวเตอร์ - สาขางานเทคนิคคอมพิวเตอร์
  • สาขาวิชาช่างก่อสร้าง - สาขางานก่อสร้าง
  • สาขาวิชาช่างซ่อมบำรุง - สาขางานซ่อมบำรุงอุตสาหกรรม

ประเภทวิชาพาณิชยกรรม

  • สาขาวิชาการบัญชี - สาขางานการบัญชี
  • สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ - สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ

ประเภทวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

  • สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ - สาขางานซอฟต์แวร์ระบบสมองกลฝังตัวและไอโอที

ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) พุทธศักราช 2562 ปรังปรุง พ.ศ. 2565 หลักสูตร 3 ปี รับผู้จบมัธยมศึกษาปีที่ 3 หรือเทียบเท่าเข้าเรียนในระบบปกติ และระบบทวิภาคี ประเภทวิชาอุตสาหกรรม จำนวน 3 สาขาวิชา 3 สาขางาน โดยหลักสูตรนี้ใช้ในนักเรียนระดับ ปวช. ชั้นปีที่ 2 (เข้าศึกษาปี พ.ศ. 2566-2568) และ ระดับ ปวช. ชั้นปีที่ 3 (เข้าศึกษาปี พ.ศ. 2565-2567) ดังนี้

ประเภทวิชาช่างอุตสาหกรรม

  • สาขาวิชาช่างเชื่อมโลหะ - สาขางานโครงสร้าง
  • สาขาวิชาช่างอิเล็กทรอนิกส์ - สาขางานอิเล็กทรอนิกส์
  • สาขาวิชาเมคคาทรอนิกส์ - สาขางานเมคคาทรอนิกส์และหุ่นยนต์

ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) พุทธศักราช 2567 หลักสูตร 3 ปี รับผู้จบมัธยมศึกษาปีที่ 3 หรือเทียบเท่าเข้าเรียนในระบบปกติ และระบบทวิภาคี ประเภทวิชาอุตสาหกรรม ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ และประเภทวิชาอุตสาหกรรมดิจิทัลและเทคโนโลยีสารสนเทศ จำนวน 13 สาขาวิชา โดยหลักสูตรนี้ใช้ในนักเรียนระดับ ปวช. ชั้นปีที่ 1 (เข้าศึกษาปี พ.ศ. 2567-2569) ดังนี้

ประเภทวิชาอุตสาหกรรม

  • กลุ่มอาชีพเครื่องกลและยานยนต์
    • สาขาวิชาช่างยนต์
    • สาขาวิชายานยนต์ไฟฟ้า
  • กลุ่มอาชีพอุตสาหกรรมการผลิต
    • สาขาวิชาช่างกลโรงงาน
    • สาขาวิชาช่างเชื่อมโลหะ
    • สาขาวิชาช่างซ่อมบำรุง
  • กลุ่มอาชีพพลังงาน ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
    • สาขาวิชาช่างไฟฟ้า
    • สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์
  • กลุ่มอาชีพเมคคาทรอนิกส์ หุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ
    • สาขาวิชาเมคคาทรอนิกส์และหุ่นยนต์
  • กลุ่มอาชีพอุตสาหกรรมก่อสร้าง
    • สาขาวิชาช่างก่อสร้าง

ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ

  • กลุ่มอาชีพการเงินและบัญชี
    • สาขาวิชาการบัญชี

ประเภทวิชาอุตสาหกรรมดิจิทัลและเทคโนโลยีสารสนเทศ

  • กลุ่มอาชีพฮาร์ดแวร์
    • สาขาวิชาช่างเทคนิคคอมพิวเตอร์
  • กลุ่มอาชีพซอฟต์แวร์และการประยุกต์
    • สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
  • กลุ่มอาชีพธุรกิจดิจิทัลและพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
    • สาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล

ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)

ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) พุทธศักราช 2563 หลักสูตร 2 ปี รับผู้จบ ปวช. หรือ ม.6 หรือเทียบเท่าเข้าเรียนในระบบปกติ และระบบทวิภาคี ประเภทวิชาอุตสาหกรรม ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ และประเภทวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร จำนวน 9 สาขาวิชา 11 สาขางาน โดยหลักสูตรนี้ใช้ในนักเรียนระดับ ปวส. ชั้นปีที่ 2 (เข้าศึกษาปี พ.ศ. 2566-2567) ดังนี้

ประเภทวิชาช่างอุตสาหกรรม

  • สาขาวิชาเทคนิคเครื่องกล - สาขางานเทคนิคยานยนต์
  • สาขาวิชาเทคนิคการผลิต - สาขางานเครื่องมือกล
  • สาขาวิชาเทคนิคโลหะ - สาขางานตรวจสอบและทดสอบงานเชื่อม และสาขางานเทคโนโลยีงานเชื่อมโครงสร้างโลหะ
  • สาขาวิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ - สาขางานคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่าย
  • สาขาวิชาช่างก่อสร้าง - สาขางานก่อสร้าง
  • สาขาวิชาเทคนิคอุตสาหกรรม - สาขางานเทคโนโลยีวิศวกรรมอุตสาหกรรมการผลิต และสาขางานเทคโนโลยีวิศวกรรมซ่อมบำรุงอุตสาหกรรม

ประเภทวิชาพาณิชยกรรม

  • สาขาวิชาการบัญชี - สาขางานการบัญชี
  • สาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล - สาขางานธุรกิจดิจิทัล

ประเภทวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

  • สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ - สาขางานนักพัฒนาระบบสมองกลฝังตัวและไอโอที

ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) พุทธศักราช 2563 ปรับปรุง พ.ศ. 2565 หลักสูตร 2 ปี รับผู้จบ ปวช. หรือ ม.6 หรือเทียบเท่าเข้าเรียนในระบบปกติ และระบบทวิภาคี ประเภทวิชาอุตสาหกรรม จำนวน 3 สาขาวิชา 5 สาขางาน โดยหลักสูตรนี้ใช้ในนักเรียนระดับ ปวส. ชั้นปีที่ 2 (เข้าศึกษาปี พ.ศ. 2566-2567) ดังนี้

ประเภทวิชาช่างอุตสาหกรรม

  • สาขาวิชาไฟฟ้า - สาขางานไฟฟ้าการควบคุมทางอุตสาหกรรม สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้า และสาขางานไฟฟ้ากำลัง
  • สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์ - สาขางานอิเล็กทรอนิกส์อุตสาหกรรม
  • สาขาวิชาเมคคาทรอนิกส์และหุ่นยนต์ - สาขางานเมคคาทรอนิกส์และระบบอัตโนมัติ

ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) พุทธศักราช 2567 หลักสูตร 2 ปี รับผู้จบ ปวช. หรือ ม.6 หรือเทียบเท่าเข้าเรียนในระบบปกติ และระบบทวิภาคี ประเภทวิชาอุตสาหกรรม ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ และประเภทวิชาอุตสาหกรรมดิจิทัลและเทคโนโลยีสารสนเทศ จำนวน 13 สาขาวิชา โดยหลักสูตรนี้ใช้ในนักเรียนระดับ ปวส. ชั้นปีที่ 1 (เข้าศึกษาปี พ.ศ. 2567-2568) ดังนี้

ประเภทวิชาอุตสาหกรรม

  • กลุ่มอาชีพเครื่องกลและยานยนต์
    • สาขาวิชาเทคนิคเครื่องกล
  • กลุ่มอาชีพอุตสาหกรรมการผลิต
    • สาขาวิชาเทคนิคการผลิต
    • สาขาวิชาเทคนิคโลหะ
    • สาขาวิชาเทคนิคอุตสาหกรรม
  • กลุ่มอาชีพพลังงาน ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
    • สาขาวิชาไฟฟ้า
    • สาขาวิชาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์
  • กลุ่มอาชีพเมคคาทรอนิกส์ หุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ
    • สาขาวิชาเมคคาทรอนิกส์และหุ่นยนต์
  • กลุ่มอาชีพอุตสาหกรรมก่อสร้าง
    • สาขาวิชาช่างก่อสร้าง

ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ

  • กลุ่มอาชีพการเงินและบัญชี
    • สาขาวิชาการบัญชี

ประเภทวิชาอุตสาหกรรมดิจิทัลและเทคโนโลยีสารสนเทศ

  • กลุ่มอาชีพฮาร์ดแวร์
    • สาขาวิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
  • กลุ่มอาชีพซอฟต์แวร์และการประยุกต์
    • สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
  • กลุ่มอาชีพธุรกิจดิจิทัลและพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
    • สาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล

หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิตสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ ระดับปริญญาตรี (ต่อเนื่อง)

หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิตสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ ระดับปริญญา หลักสูตร 2 ปี รับผู้สำเร็จการศึกษาระดับ ปวส. สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์ และสาขาวิชาไฟฟ้า ที่มีสถานประกอบการรองรับแล้ว เข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี จำนวน 2 สาขา

หลักสูตรระดับปริญญาตรี (ต่อเนื่อง)

สายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ สาขาวิชาเทคโนโลยีไฟฟ้า
สายเทคโนโลยีหรือปฏิบัติการ สาขาวิชาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์